ระเบียบวาระการประชุมประจำเดือนเจ้าหน้าที่สังกัดสำนักงานสาธารณสุขอำเภอสิรินธร |
:ระเบียบวาระก่อนการประชุม | |
พิธีมอบช่อดอกไม้แสดงความยินดีกับข้าราชการ นางวิลาวรรณ ผิวทน ในโอกาสได้รับคำสั่งแต่งตั้งให้รักษาการใน ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหัวสะพาน เมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม 2566 |
|
:เรื่องที่ประธานแจ้งให้ทราบ | เอกสารประกอบ |
จากสสจ.อุบลราชธานี | |
จากที่ว่าการอำเภอสิรินธร | |
- ระเบียบวาระประชุมหัวหน้าส่วนราชการ - ระเบียบวาระประชุมกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน |
เอกสารประกอบ เอกสารประกอบ |
|
:รับรองรายงานการประชุมครั้งที่ผ่านมา | เอกสารประกอบ |
รับรองรายงานการประชุมครั้งที่ 8/2566 วันที่ 4 สิงหาคม 2566 | |
:เรื่องติดตามการประชุมครั้งที่ผ่านมา | เอกสารประกอบ |
เรื่องติดตามการประชุมครั้งที่ 8/2566 วันที่ 4 สิงหาคม 2566 | |
:เรื่องแจ้งเพื่อทราบ | ||
4.1 กลุ่มงานบริหารงานทั่วไป | ||
นายจักรพันธ์ บุญส่ง ผู้ช่วยสาธารณสุขอำเภอสิรินธร (นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ) | เอกสารประกอบ |
|
1. |
งานบริหารและพัฒนาบุคลากร | |
1.1 สรุปการส่งใบขอย้าย | ||
1.2 แนวทางการประเมินผลการปฏิบัติงาน | ||
2. |
งานควบคุมภายใน | |
2.1 กรณีตัวอย่างความผิดวินัยและการลงโทษของทางราชการ | ||
4.2 กลุ่มงานสนับสนุนวิชาการและบริการ | ||
นายชำนาญ เหลากลม นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ | เอกสารประกอบ |
|
1. |
การสรุปการจัดทำแผนการเงินการคลัง ปี 67 คือรายรับมาจาก รพ.สต.หาเงินเองและรับตามนโยบายคือตามขนาด S M L +150,000 บาท และขอสนับสนุนจาก CUP หมวดค่าจ้างและบุคลากร ฉ11 ยกเว้นค่าจ้างของแพทย์แผนไทย |
|
2. |
การประชุมสัญจร เริ่มเดือน ตุลาคม 2566 เป็นต้นไป เริ่มต้นที่ รพ.สต.นิคม2 สิ่งที่ต้องเตรียมก่อนการประชุมคือ นำเสนอข้อมูลทั่วไปและ swot analysis |
|
3. |
สรุปผลการประเมินงานทางด้านสาธารณสุขปี 66 ครั้งที่ 2 | |
4. |
การจัดทำแผนพัฒนาสาธารณสุขปี 67 | เอกสารประกอบเพิ่มเติม |
5. |
การจัดทำแผนงบลงทุนปี 68 | |
นางชชมน เกษอาสา นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ | เอกสารประกอบ |
|
ไม่มีวาระประชุม | ||
นายวีระยุทธ อุระทา นักวิชาการคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ | เอกสารประกอบ |
|
1. |
แนวทางการบันทึกข้อมูลติดตามเยี่ยมผู้ป่วยในพระบรมราชานุเคราะห์ ในระบบ UBSIMs | เอกสารประกอบเพิ่มเติม |
2. |
แนวทางการจัดทำชุดอนุมัติโครงการจัดหาระบบคอมพิวเตอร์ภาครัฐที่มีมูลค่าไม่เกิน 5 ล้านบาท ประจำปี 2567 | เอกสารประกอบเพิ่มเติม |
3. |
สรุปการส่งข้อมูลงานประกันสังคม (SSOP) ประจำเดือน สิงหาคม 2566 | |
4. |
สรุปการส่งข้อมูลการให้บริการ OPD/PP ผ่านโปรแกรม New E-Claim ทุกสิทธิการรักษา ประจำเดือนสิงหาคม 2566 | |
5. |
สรุปการส่งข้อมูลการรับส่งต่อผู้ป่วย (Smart Refer) ของหน่วยบริการ ประจำเดือนสิงหาคม 2566 | |
6. |
สรุปการส่งข้อมูลการฉีดวัคซีน EPI เด็ก 0-5 ปี วัคซีน DT บาดทะยัก และ เจาะเลือด DM HT เข้าสู่ระบบ MOPH CLAIM ผ่านโปรแกรม J2CLAIM ประจำเดือน สิงหาคม 2566 | |
4.3 กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค | ||
นางวัฒนา สายเนตร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ | เอกสารประกอบ |
|
1. |
ไม่มีวาระประชุม |
|
นายแมนศักดิ์ โพธิ์ขาว เจ้าพนักงานสาธารณสุขชำนาญงาน | เอกสารประกอบ |
|
1. |
ผลงาน Ranking กลุ่มงานอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม |
|
นางจิราภรณ์ พิลาพันธ์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ | เอกสารประกอบ |
|
1. |
สถานการณ์โรคที่ต้องเฝ้าระวัง | |
1.1 สถานการณ์ไข้เลือดออก เขตสุขภาพที่ 10 ประจำสัปดาห์ที่ 34/2566 | เอกสารประกอบเพิ่มเติม | |
1.2 สถานการณ์โรคฝีดาษวานร กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข รายงานสถานการณ์โรคฝีดาษวาร หรือ Monkey pox ณ วันที่ 8 สิงหาคม 2566 ประเทศไทยพบผู้ป่วยทั้งสิ้น 189 ราย เป็นสัญชาติไทย 161 ราย ชาวต่างชาติ 28 ราย ผู้ป่วยเสียชีวิต 1 ราย (ติดเชื้อ HIV ร่วม) และมีแนวโน้มการระบาดเพิ่มสูงขึ้น ผู้ป่วยส่วนใหญ่ เป็นชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชาย และมีการติดเชื้อ HIV ร่วมด้วย จำนวน 82 ราย คิดเป็นร้อยละ 43 อาการ ไข้ ปวดศีรษะ ต่อมน้ำเหลืองโต มีผื่นหรือตุ่มน้ำ หรือตุ่มหนองขึ้นที่อวัยวะเพศ หรือทวารหนัก ผื่นตามมือ เท้า หน้าอก ใบหน้า หรือบริเวณปาก ร่วมกับมีประวัติใกล้ชิด สัมผัสแนบชิด หรือมีเพศสัมพันธ์กับ ผู้ที่มีอาการสงสัยโรคฝีดาษวานร หากมีอาการเข้าข่ายให้รีบเข้ารับการตรวจที่โรงพยาบาลทันที การป้องกัน - งดเพศสัมพันธ์กับคนแปลกหน้า -ไม่สัมผัสแนบชิดกับคนที่มีผื่นหรือตุ่มหนอง -ล้างมือบ่อยๆ -ไม่ใช้ของส่วนตัวร่วมกับผู้อื่น หากสงสัยอาการเจ็บป่วย หรือต้องการสอบถามข้อมูล สามารถสอบถามข้อมูลได้ที่สายด่วนกรมควบคุมโรค โทร.1422 |
||
1.3 สถานการณ์โรคเลปโตสไปโรซีส (ข้อมูล ณ วันที่ 14 สิงหาคม 2566) -ระดับประเทศ จำนวน ผู้ป่วยสะสม 2019 ราย อัตราป่วย 3.05 / ประชากรแสนคน เสียชีวิต 23 ราย -จังหวัดอุบลราชธานี จำนวนผู้ป่วยสะสม 101 ราย อัตราป่วย 5.4 / ประชากรแสนคน เสียชีวิต 2 ราย ในอำเภอม่วงสามสิบ มารับการรักษาล่าช้า (ไปรักษาที่คลินิกเอกชนหลายที่) มีอาการป่วย 5-7 วัน จึงมาที่โรงพยาบาลด้วยอาการรุนแรง -อ.สิรินธร พบผู้ป่วย 3 ราย อัตราป่วย 5.5 /ประชากรแสนคน ไม่มีผู้ป่วยเสียชีวิต การป้องกัน -ควรสวมชุดป้องกัน เช่น รองเท้าบู๊ต ถุงมือ เมื่อต้องลุยน้ำ หรือแช่น้ำนานๆ -หลีกเลี่ยงการสัมผัสกับสัตว์ที่เป็นพาหะ ของโรคดังกล่าว -หลีกเลี่ยงไม่ไปสัมผัสปัสสาวะโค กระบือ หนู สุกร และไม่ใช้แหล่งน้ำที่สงสัยว่าอาจปนเปื้อนเชื้อ -หลีกเลี่ยงอาหารที่ปล่อยค้างคืน โดยไม่มีภาชนะปกปิด เป็นต้น -หลีกเลี่ยงการทำงานในน้ำหรือต้องลุยน้ำ ลุยโคลนเป็นเวลานานๆ -รีบอาบน้ำ ทำความสะอาดร่างกายโดยเร็วหากแช่ หรือ ย่ำลงไปในแหล่งน้ำที่สงสัยว่าอาจปนเปื้อนเชื้อ |
||
2. |
แจ้งแผนการนิเทศติดตามการสร้างความร่วมมือการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคไวรัสตับอักเสบ บีและ ซี จากสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 อุบลราชธานี ในวันที่ 12 กันยายน 2566 เวลา 09.00 น. ณ ห้องประชุมสำนักงานสาธารณสุขอำเภสิรินธร กลุ่มเป้าหมาย ผู้รับผิดชอบงานฯ และ อปท. ที่เป็นเครือข่าย |
|
3. |
ติดตามการดำเนินงาน ฉีดวัคซีน HPV ในนักเรียน หญิง ป.5 | |
:เรื่องเพื่อพิจารณา | |
:เรื่องจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล |
:เรื่องจากกลุ่มวิชาชีพต่างๆ | |
กลุ่มผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล | เอกสารการประชุม |
กลุ่มพยาบาลวิชาชีพ | เอกสารการประชุม |
กลุ่มนักวิชาการสาธารณสุขและเจ้าพนักงานสาธารณสุข | เอกสารการประชุม |
กลุ่มเจ้าพนักงานทันตสาธารณสุขและผู้ช่วยทันตสาธารณสุข | เอกสารการประชุม |
กลุ่มแพทย์แผนไทย/ผู้ช่วยแพทย์แผนไทย | เอกสารการประชุม |
กลุ่มพนักงานธุรการและพนักงานช่วยเหลือคนไข้ | เอกสารการประชุม |
:เรื่องอื่นๆ | |